ประพันธ์
(2524) ได้ทดลองเรื่องกากชา โดยใช้เมล็ดชาที่แก่จากไร่ชาในเชียงใหม่
นำมาตากแห้ง บด แช่ในน้ำอัตราส่วน 30 กรัม/100 ซีซี 24 ชั่วโมง
แล้วกรองเฉพาะน้ำไว้ทดลอง
ผลของความเข้มข้น
ความเข้มข้น 1.1 พีพีเอ็ม
ปลากุเลา กะพง กระบอก ข้างลาย ตะกรับ บู่ หมอเทศ อีกง ตายใน
0.30-1ชั่วโมง
ความเข้มข้น 5.3 พีพีเอ็ม
กุ้งแชบ๊วยตายใน 58-59 ชั่วโมง
ความเข้มข้น 6.0 พีพีเอ็ม
โรติเฟอร์น้ำเค็มตาย 80 เปอร์เซ็นต์ใน 24
ชั่วโมง แต่ความเข้มข้นต่ำกว่า 4.8
พีพีเอ็ม ไม่ตาย
ในสรุปและวิจารณ์ผล ได้อ้างถึงรายงานของ Dr Terrazaki ว่ากากชา
60 พีพีเอ็ม
ทำให้กุ้ง P. japonica ตายใน 24
ชั่วโมง
ผลของความเค็ม
ความเค็มสูง
กากชามีพิษต่อปลามากกว่าความเค็มต่ำ โดยความเข้มข้นของกากชา
1.1 พีพีเอ็ม
ความเค็ม 10 พีพีที
ปลาหมอเทศ ตายใน 19.49 ชั่วโมง
ความเค็ม 30 พีพีที
ปลาหมอเทศ ตายใน 1.25
ชั่วโมง
การเสื่อมสภาพของกากชาที่ละลายน้ำแล้ว
สารละลายเริ่มเสื่อมสภาพใน 7
วัน และหมดสภาพการเป็นพิษใน 14
วัน
ผลของอุณหภูมิต่อการเสื่อมสภาพของกากชาที่ละลายน้ำแล้ว
อุณหภูมิไม่มีผลต่อการหมดสภาพการเป็นพิษของสารละลายกากชา |